หัวหน้าส่วนราชการ

head

 นายอำพล วริทธิธรรม
ผู้อำนวยการกองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์

DLD PRODUCT LIBRARY Side Banner

 

544673

logo

dataMarketing

menu icon web

HeadBranerMilk

click link video

 

bcg model copy

price per week

 

E-Poster

รณรงค์

ข่าวสารประชาสัมพันธ์

กิจกรรม/โครงการ

SPEC ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว

ภาพกิจกรรมของหน่วยงาน

ข้อมูลจำนวนปศุสัตว์

No Gift Policy

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

สำหรับเจ้าหน้าที่

2345710 messageImage 1680443028875

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

QR Code ของหน่วยงาน

สถิติผู้เข้าชมเว็บ

จำนวนผู้เข้าชมเว็บทั้งหมด
103682
Today39
Yesterday34
This_Week163
This_Month194
All_Days103682

กำลังออนไลน์

มี 782 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

ระหว่างวันที่ 22-23 กุมภาพันธุ์ 2565

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ จัดฝึกอบรม การแปรรูปไส้กรอกกรมปศุสัตว์สไตล์ยุโรป (สุกร) เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์ไส้กรอกแก่เกษตรกร ผู้ประกอบการ แลพผู้สนใจ โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ 22 - 23 กุมภาพันธุ์ 2565 มีกิจกรรมดังต่อไปนี้

-           - การกล่าวต้อนรับและแนะนำภารกิจของหน่วยงาน โดยนางสาวเอื้องพลอย ใจลังกา ผู้อำนวยการศูนย์ฯ

-           - การบรรยายเรื่อง วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์และพื้นฐานการแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์

-            -การปฏิบัติการทำไส้กรอกรมควัน

-            -การใช้ไนไตรท์และการเตรียมเกลือไนไตรท์สำหรับผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์

-            -การปฏิบัติ การทำผลิตภัณฑ์ไส้กรอกสด และผลิตภัณฑ์ไส้กรอกต้ม

-            -การบรรยายเรื่อง หลักเกณฑ์ปฏิบัติที่ดีในการผลิตผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ โดยสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

-            -การบรรยายเรื่อง หลักการตลาดเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ โดยคุณสมลักษณ์ เหลืองสุวรรณ

ซึ่งการอบรมครั้งนี้ดำเนินการภายใต้มาตรการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเคร่งครัดซึ่งได้รับความร่วมมือจากผู้อบรมเป็นอย่างมาก

 

22 23 2 65 1 22 23 2 65 2

22 23 2 65 3 22 23 2 65 4

22 23 2 65 5 22 23 2 65 6

22 23 2 65 7 22 23 2 65 8

22 23 2 65 9 22 23 2 65 10

 

 

9 กุมภาพันธุ์ 2565

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ให้บริการตัดแต่งและศึกษาซากโคจากการขุนโคนมปลดระวาง ให้แก่คุณเฉลิมชัย ทิพยัค เพื่อหาทำการทดลองตลาดเนื้อโคจากการขุนโคนมปลดระวางเพื่อเพิ่มมูลค่าแก่เนื้อโค รวมไปถึงการหารือแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์จากไขมันวัว และชิ้นส่วนรองของโคกลุ่มดังกล่าวต่อไป

 

 9 2 65 12 

9 2 65 22 9 2 65 32

9 2 65 42

 

วันที่ 8-9 กุมภาพันธุ์ 2565

                ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ จัดฝึกอบรม “การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนยแข็งเชดด้าและครีมชีสจากน้ำนมโคในอุตสาหกรรมขนาดเล็ก” ระหว่างวันที่ 8 - 9 กุมภาพันธุ์ 2565 โดยกิจกรรมดังต่อไปนี้

-                    - การบรรยายวิทยาศาสตร์น้ำนมและเนยแข็ง โดยนางสาวเอื้องพลอย ใจลังกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่

-                    - การบรรยายเรื่อง วิทยาศาสตร์น้ำนมและพื้นฐานการแปรรูปผลิตภัณฑ์นม

-                    - การปฏิบัติการทำเชดด้าชีส

-                    - การปฏิบัติการทำครีมชีส

-                   - การทำฮาลูมี่ชีส

-                    - การบรรยายเรื่อง หลักเกณฑ์ปฏิบัติที่ดีในการผลิตผลิตภัณฑ์เนยแข็ง โดยสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

-                     - การบรรยายเรื่อง เทคนิคการเพิ่มยอดขาย โดย ผศ.ศศิกานต์ ลิมปิติ อาจารย์คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

-                    - การบรรยายพิเศษ การใช้ Micro green (ต้นอ่อนพืช) ในอาหารสัตว์ โดยคุณธันฐกรณ์ ณ นคร

การอบรมครั้งนี้ดำเนินการภายใต้มาตรการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเคร่งครัดซึ่งได้รับความร่วมมือจากผู้อบรมเป็นอย่างมาก

 

11 2 65 11 

11 2 65 21 

11 2 65 31

11 2 65 41

11 2 65 51

11 2 65 61

11 2 65 71

11 2 65 81

 

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2564

          ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ โดย นางสาวจรัสศรี แก้วฝั้น และนายสงกรานต์ แหวนวัง เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ ประชุมการดำเนินงานโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (OTOP) ประเภทผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ร่วมกับ นายกิตติศักดิ์ ใจแก้วแดง เจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดอุตรดิตถ์ และประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโคพื้นเมืองเหนือเขื่อนสิริกิติ์ เพื่อหารือการดำเนินงานการพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อแดดเดียวจากโคพื้นเมืองในพื้นที่เป็นผลิตภัณฑ์ตาม มาตรฐาน OTOP รวมถึงการสร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมและมีเอกลักษณ์ ผ่านระบบ Zoom

          โดยทางศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ ได้ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานการใช้งบประมาณ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถึงการสร้างตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อใช้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในการแปรรูปเพื่อการค้าและขอขึ้นทะเบียนสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ต่อไป

 

                                                             23 11 64 1 

                                                             23 11 64 2

                                                             23 11 64 3

                                                          23 11 64 4

                                                          23 11 64 5