หัวหน้าส่วนราชการ

head

 นายอำพล วริทธิธรรม
ผู้อำนวยการกองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์

DLD PRODUCT LIBRARY Side Banner

 

544673

logo

dataMarketing

menu icon web

HeadBranerMilk

click link video

 

bcg model copy

price per week

 

E-Poster

รณรงค์

ข่าวสารประชาสัมพันธ์

กิจกรรม/โครงการ

SPEC ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว

ภาพกิจกรรมของหน่วยงาน

ข้อมูลจำนวนปศุสัตว์

No Gift Policy

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

สำหรับเจ้าหน้าที่

2345710 messageImage 1680443028875

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

QR Code ของหน่วยงาน

สถิติผู้เข้าชมเว็บ

จำนวนผู้เข้าชมเว็บทั้งหมด
103682
Today39
Yesterday34
This_Week163
This_Month194
All_Days103682

กำลังออนไลน์

มี 781 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2564

นางสาวเอื้องพลอย ใจลังกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ และเจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ เข้าศึกษาดูงานด้านการส่งเสริมแมลงเศรษฐกิจ ณ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดเชียงใหม่ กรมส่งเสริมการเกษตร เพื่อศึกษาการส่งเสริมด้านแมลงเศรษฐกิจ ได้แก่

         1.) ผึ้ง

         2.) ชันโรง

         3.) ครั่ง

         4.) จิ้งหรีด

         5.) ด้วงสาคู

โดยมีนางสาวพิชญากร เพ็ชรดี นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ เป็นผู้บรรยายและให้ข้อมูล ที่เกี่ยวกับแมลงเศรษฐกิจ ทั้งในด้านชนิดและสายพันธุ์ การเลี้ยงและการใช้ประโยชน์จากผลผลิตเพื่อเป็นข้อมูลและแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแมลงเศรษฐกิจต่อไป

 

    26 11 64 1 26 11 64 2

    26 11 64 3 26 11 64 4

    26 11 64 5 26 11 64 6

                                                                       26 11 64 7

วันพฤหัสบดี ที่ 11 พฤศจิกายน 2564

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ร่วมเสวนาออนไลน์ ในหัวข้อ “หมูไป ไก่มา”...คุณค่าไก่พื้นเมืองต่อความมั่นคงทางอาหาร วัฒนธรรม และเศรษฐกิจชุมชน ผ่านระบบการประชุมทางไกล (WEBEX) จัดโดยศูนย์วิจัยจีโนมิกส์และทรัพยากรชีวภาพของสัตว์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีหัวข้อเสวนา ดังนี้

- ไก่พื้นเมืองเลี้ยงเป็นอาชีพ จริงหรือไม่?

- การเลี้ยงไก่เพื่อความสวยงามในเมืองไทย มีพันธุ์อะไรบ้าง?

- ไก่พื้นเมืองสวยงามที่มีชื่อเสียง เป็นแหล่งอาหาร และสร้างความมั่นคงให้กับชุมชนได้อย่างไร?

- การขึ้นทะเบียนพันธุ์ไก่พื้นเมือง มีความสำคัญอย่างไร?

- การใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มคุณค่าไก่พื้นเมืองได้อย่างไร? เพื่อเป็นแนวทางในการวิจัย พัฒนาผลิตภัณฑ์ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ไก่พื้นเมืองต่อไป

 

                                                                           11 11 64 1

 11 11 64 2 11 11 64 3

11 11 64 4 11 11 64 5

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2564

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติโครงการพัฒนาบุคลากร หลักสูตร “การตัดแต่งเนื้อสุกร สไตล์เยอรมัน” เพื่อพัฒนาทักษะและองค์ความรู้ให้แก่เจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์ ซึ่งกิจกรรมในวันนี้มีการบรรยายหลักการ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตัดแต่งเนื้อสุกร สาธิต และฝึกปฏิบัติจริงในการตัดแต่งเนื้อสุกรสไตล์เยอรมัน โดยคุณประกาญจน์ ยาประเสริฐ เจ้าพนักงานสัตวบาล และคุณอำนาจ คำปิน พนักงานผู้ช่วยสัตวบาล การฝึกอบรมในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์ มีความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มพูนทักษะ และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในการตัดแต่งสุกร และนำไปใช้ในการทำงานและถ่ายทอดเป็นองค์ความรู้แก่เกษตรกรต่อไป

 

9 11 64 1 9 11 64 2

9 11 64 3 9 11 64 4

 

1 พฤศจิกายน 2564

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ โดยกลุ่มส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ได้นำคุณสุทธิพงษ์ จงกลณี ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์เนยแข็งแบรนด์ “Proud” เสนอผลิตภัณฑ์แก่คณะอนุกรรมการร้านค้าสวัสดิการสำนักงานปศุสัตว์เขต 5 ซึ่งมีผลิตภัณฑ์ได้แก่ Cottage cheese Halloumi cheese Mozzarella Cheese จากนมโค Mozzarella Cheese จากนมกระบือ สำหรับคุณสุทธิพงษ์ จงกลณีเป็นผู้ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตร “การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนยแข็งในอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2564 ของศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ แล้วนำองค์ความรู้จากการฝึกอบรมไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เนยแข็งเพื่อสร้างรายได้ต่อไป

5 11 64 1 5 11 64 2

5 11 64 3 5 11 64 4