หัวหน้าส่วนราชการ

head

 นายอำพล วริทธิธรรม
ผู้อำนวยการกองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์

DLD PRODUCT LIBRARY Side Banner

 

544673

logo

dataMarketing

menu icon web

HeadBranerMilk

click link video

 

bcg model copy

price per week

 

E-Poster

รณรงค์

ข่าวสารประชาสัมพันธ์

กิจกรรม/โครงการ

SPEC ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว

ภาพกิจกรรมของหน่วยงาน

ข้อมูลจำนวนปศุสัตว์

No Gift Policy

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

สำหรับเจ้าหน้าที่

2345710 messageImage 1680443028875

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

QR Code ของหน่วยงาน

สถิติผู้เข้าชมเว็บ

จำนวนผู้เข้าชมเว็บทั้งหมด
103664
Today21
Yesterday34
This_Week145
This_Month176
All_Days103664

กำลังออนไลน์

มี 727 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

วันอังคาร ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ โดย นางสาวเอื้องพลอย ใจลังกา ผู้อำนวยการศูนย์ฯ ประชุมเตรียมงานตามแผนงานวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2566 ของศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เชียงใหม่ จำนวน 4 เรื่อง ดังนี้

1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซุปกระดูกโคชนิดผงด้วยการทำแห้งแบบโฟมเมท

2. การพัฒนากระบวนการฟอกหนังแพะแบบเรียบโดยใช้กากกาแฟสำหรับผลิตภัณฑ์หัตถกรรม

3. การจัดการความรู้เรื่อง การแปรรูปผลิตภัณฑ์บิสกิตเสริมโปรตีนจิ้งหรีดสำหรับสุนัข และการต่อยอดผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์สำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านแม่ตาด

4. การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อส่งเสริมการบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อแพะภายในประเทศ

เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และถ่ายทอดสู่เกษตรกรเป้าหมายในงานวิจัย

ทั้งนี้หากเกษตรกรหรือผู้ประกอบการต้องการรับการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการแปรรูปสินค้าปศุสัตว์ สามารถติดต่อได้ที่กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ โทรศัพท์ 02-6534444 ต่อ 3375 หรือ ทาง Facebook : กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ https://www.facebook.com/profile.php?id=100064378523814

หรือ ติดต่อได้ที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ โทรศัพท์ 0-53213162 หรือทาง Facebook : ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่

https:https://www.facebook.com/RDTC2014?mibextid=ZbWKwL

 

28 2 66 1 28 2 66 2

28 2 66 3 28 2 66 4

28 2 66 5

วันที่ 18 ตุลาคม 2565

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ร่วมหารือกับศูนย์วิจัยและพัฒนาหมูดำดอยตุง โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นเครือข่ายกรมปศุสัตว์ โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเชียงราย ร่วมหารือร่วมแนวทางการปฏิบัติงานด้านการศึกษาซาก วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์หมูดำดอยตุงเพื่อตอบโจทย์การเป็นสินค้า GIโดยมีการหารือหัวข้อ ดังต่อไปนี้

1.แนวทางการจัดทำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหมูดอยตุง

2.การศึกษา ซากหมูดอยตุงเพื่อการวิจัย และเก็บข้อมูลในการประกอบจัดทำต้นทุนการผลิตเพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการขอรับรอง สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indications ) ให้กับหมูดำดอยตุง

เพื่อนำแนวทางต่างๆ ไปปรับใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของโครงการพัฒนาดอยตุงต่อไป

 

18 10 65 1

18 10 65 2

18 10 65 3

วันที่ 17 - 18 ตุลาคม 2565

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ต้อนรับสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหมูดำเหมยซานเกษตรพอเพียง จังหวัดเชียงราย เข้ารับการถ่ายทอดองค์ความรู้การตัดแต่งชิ้นสุกร พร้อมทั้งแนะนำการเลือกบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับบรรจุชิ้นส่วนต่างๆ ของหมูดำอินทรีย์ เพื่อให้ได้ตามมาตรฐาน ลดการสูญเสียของผลิตภัณฑ์ และเป็นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อื่นๆ ต่อไปในอนาคต https://vt.tiktok.com/ZSRgc3aVs/

นอกจากนั้นยังพา “หมูดำอินทรีย์ทุ่งต้อม”บุกตลาดเชียงใหม่ โดยวางจำหน่าย ณ ร้านค้าสวัสดิการสำนักงานปศุสัตว์เขต 5 (ร้านนมห้วยแก้ว) โดยเริ่มจำหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูปประเภทชิ้นส่วนสุกรแช่แข็งภายในเดือนพฤศจิกายน 2565 นี้ เพื่อสร้างการรับรู้ให้แก่ผู้บริโภค อีกทั้งยังมีการให้คำแนะนำเพิ่มเติมแก่กลุ่มฯ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากหมูดำเหมยซาน เช่น พอร์คชอฟ สันคอสเต็ก สามชั้นสไลด์ เพื่อเป็นแนวทางในการแปรรูปต่อไปในอนาคต https://vt.tiktok.com/ZSRpkM29w/

17 18 10 65 1 

 

           17 18 10 65 2

           17 18 10 65 3

           17 18 10 65 4

           17 18 10 65 5

           17 18 10 65 6

           17 18 10 65 7

วันที่ 5 ตุลาคม 2565

           ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ให้การต้อนรับคณะนักศึกษาดูงานจาก ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 50 คน ซึ่งได้เข้าศึกษาดูงานด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากนมและผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ โดยศูนย์ฯ ได้ถ่ายทอดความรู้ด้านโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปรรูป รวมถึงกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เบื้องต้น เพื่อให้คณะนักศึกษาได้ทราบองค์ความรู้ และสามารถนำไปปรับใช้ได้ในอนาคตต่อไป

5 10 65 21 5 10 65 22

5 10 65 23 5 10 65 24

5 10 65 25 5 10 65 26