หัวหน้าส่วนราชการ

head

 นายอำพล วริทธิธรรม
ผู้อำนวยการกองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์

DLD PRODUCT LIBRARY Side Banner

544673

logo

dataMarketing

menu icon web

HeadBranerMilk

click link video

 

bcg model copy

price per week

QRCode for 2567 2QRCode for 2567 1

E-Poster

รางวัล/ประกาศเกียรติคุณ

No Gift Policy

แผนที่ผลิตภัณฑ์แพะประเทศไทย

80x120 0407565

ข่าวสารประชาสัมพันธ์

กิจกรรม/โครงการ

SPEC ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว

ภาพกิจกรรมของหน่วยงาน

"กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบของกรมปศุสัตว์ ปีงบประมาณ 2566"
วันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม 2565 กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบของกรม...
การฝึกอบรมการเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์ หลักสูตร การเพิ่มมูลค่านมแพะ ระหว่างวันที่ 20-22 มกราคม 2563
ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ปทุมธานี กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ ดำเนินการจัดโครงการฝึกอ...
"ศผส.เชียงใหม่ จัดฝึกอบรม แปรรูปผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ให้กับ Smart Farmer ในพื้นที่รับผิดชอบปศุสัตว์ เขต 6"
วันที่ 15-16 มิถุนายน 2566 ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่ กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ จัดฝ...

ข้อมูลจำนวนปศุสัตว์

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

สำหรับเจ้าหน้าที่

2345710 messageImage 1680443028875

เว็บไซต์ที่น่าสนใจ

QR Code ของหน่วยงาน

สถิติผู้เข้าชมเว็บ

จำนวนผู้เข้าชมเว็บทั้งหมด
77847
Today6
Yesterday39
This_Week330
This_Month428
All_Days77847

กำลังออนไลน์

มี 530 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ปทุมธานี กองผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ ดำเนินการจัดโครงการฝึกอบรมเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์ หลักสูตร"การเพิ่มมูลค่านมแพะ" ให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะนมและผู้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับแพะนม จำนวนทั้งสิ้น 20 ราย เพื่อดำเนินการจัดกิจกรรมตามยุทธศาสตร์การพัฒนาแพะ-แกะ ปี 2560 - 2564 โดยมีเนื้อหาการอบรม ดังนี้

1. บรรยายเรื่อง วิทยาศาสตร์น้ำนมแพะและเทคโนโลยีการแปรรูปน้ำนมแพะ

2. บรรยายเรื่อง สุขอนามัย หรือ สุขลักษณะ (hygiene) [สภาวะและมาตรการต่างๆ ที่จำเป็นในกระบวนการผลิตอาหาร]

3. บรรยายเรื่อง การตลาดผลิตภัณฑ์นมแพะแปรรูป

4. ปฏิบัติการ การทำนมแพะปรุงแต่ง

5. ปฏิบัติการ การทำไอศกรีมนมแพะ

6. ปฏิบัติการ การทำนมเปรี้ยวและโยเกิร์ตนมแพะ

7. ปฏิบัติการ การทำเนยแข็ง

เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะนม ให้มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์และเทคโนโลยีให้มีความเข้าใจด้านการแปรรูป ผลิตภัณฑ์นม รวมถึงด้านการตลาดเพื่อเป็นช่องทางและโอกาสในการแสดงศักยภาพและการนำเสนอผลิตผลทางด้านปศุสัตว์เพื่อใช้เป็นแนวทางการนำร่องไปสู่การเป็นเจ้าของกิจการอย่างครบวงจร ประกอบอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สัตว์เพื่อการบริโภคภายในประเทศ และสามารถแข่งขันได้ในอนาคตให้สอดรับกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลด้วย

วันที่ 23 พฤษภาคม 2562
คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒสาขาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ
โดยมีผู้เข้าร่วมการศึกษาดูงานพนักงานทั้งหมด 34 คนงานนิสิตชั้นปีที่ 3 จำนวน 30 คนคณะอาจารย์และเจ้าหน้าที่จำนวน 4 คน  เข้าสู่การศึกษา เป็นเป็นเป็นดูงานพนักงานพนักงานพนักงานพนักงาน  ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ปทุมธานี บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท นักศึ เป็นเป็นษาเป็นได้เรียนรู้เี่กี่ยวกับหัวเรื่อง: การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์(สุกร) อาทิ

?ไส้กรอกเวียนนา

?ไส้กรอกคนักเวิร์ท

?ไส้กรอกแฟรงค์เฟอร์เตอร์

เราได้ทำการศึกษาต่อไปในฐานะที่เป็นนักวิชาการและนักวิชาการที่มีประสบการณ์ในการพัฒนาบุคลากร

45595

45589

45594

45588

45590

45591

45592

 

วันที่ 21 พฤษภาคม 2562 นายเทพฤทธิ์ ทับบุญมี ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ และเจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เข้าร่วมประชุมบรรยายสรุปการตรวจเยี่ยม และศึกษาดูงานของเจ้าหน้าที่สำนักงบประมาณทางด้านสินค้าอุตสาหกรรมด้านการส่งเสริมการพัฒนา ด้านการผลิตผลิตภัณฑ์ด้านการเกษตร และพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ปทุมธานี

และรับฟังบรรยายสรุปภารกิจงานงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ 2561 ผลงาน ปัญหาอุปสรรค และแผนการดำเนินงานปีงบประมาณ 2562 และปีงบประมาณ 2563 ณ ห้องประชุมสำนักงานเขตปศุสัตว์ 1 ศูนย์ราชการกรมปศุสัตว์ จังหวัดปทุมธานี

31670

31581

31584

31582

31585

145738

145737

145724

วันที่ 12 กุมภาพันธุ์ 62 หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทยร่วมกับศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ปทุมธานี ทดลองผลิตลูกชิ้นเนื้อ จากสหกรณ์ฯโคเนื้อของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อในจังหวัดศรีสะเกษ ภายใต้โครงการ 1 หอการค้าจังหวัด 1 สหกรณ์ เพื่อสร้างรายได้เพิ่มจากการเลี้ยงโคขุน การผลิตโคขุนแบบครบวงจร เกิดความยั่งยืนในการประกอบอาชีพ ตลอดจนเป็นแนวทางการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเนื้อโคขุนและนำไปเป็นต้นแบบให้กับเกษตรกรในจังหวัดอื่นๆ ต่อไป